สนาม สอบ ตำรวจ

  1. มารยาทในการกราบไหว้ – สื่อการสอน.com
  2. ลำดับความสำคัญมารยาทไทย งามกริยาท่าทาง ด้วยการแสดงความเคารพ!!
  3. มารยาทไทย การกราบ

มารยาทในการกราบไหว้ การไหว้เป็นประเพณีไทยโบราณ เป็นวิธีเคารพแก่ผู้ควรเคารพ จึงเลือกใช้ให้เหมาะสมแก่กาลเทศะ 1. การไหว้ มีหลายวิธี มีทั้งนั่งไหว้ ยืนไหว้ เพื่อเคารพบุคคลธรรมดาที่เป็นผู้ใหญ่กว่าตน ก. วิธีการนั่งไหว้ นั่งพับเพียบ พนมมือทั้งสองข้างขึ้นไว้ระดับอก ก้มศีรษะลง ให้หัวแม่มือจรดกันที่หว่างคิ้ว ข. วิธียืนไหว้ ถ้าจำเป็นต้องไหว้เพราะอยู่นอกสถานบ้านเรือน เมื่อพบคนที่ต้องเคารพตามหนทางก็ให้พนมมือทั้งสองขึ้นระดับอก ก้มศีรษะลงจนหัวแม่มือจรดกันระหว่างคิ้ว 2. การรับไหว้ เมื่อมีผู้ทำความเคารพให้แก่เรา ควรรับไหว้ คือ เคารพตอบเพื่อมิให้เสียมารยาทหรือทำให้ ผู้แสดงความเคารพต้องกระดากใจหรือโกรธจนเป็นเหตุให้นึกไม่อยากจะเคารพต่อไปได้ วิธีรับไหว้ ยกมือทั้งสองประนมไว้ระดับอก แล้วยกขึ้นสูงมาก หรือน้อยตามฐานะผู้ไหว้และของผู้รับไหว้ 3. วิธีนั่งลงศอก เป็นวิธีเคารพผู้ใหญ่ที่มีอาวุโสสูงมากอีกแบบหนึ่งในเวลานั่งพับเพียบอยู่กับพื้น ในเมื่อ ผู้ใหญ่มาพูดคุยด้วย ถ้าจะนั่งตัวตรง ๆ ก็รู้สึกว่าเคารพไม่พอ จึงก้มตัวลงให้แขนทั้งสองวางลงบนตัก มือ ประสานกัน เงยหน้าขึ้นในโอกาสที่ต้องพูดโต้ตอบ หรือนั่งเฉย ๆ เงยหน้าพอควรถ้าไม่ได้พูดโต้ตอบกับผู้ใหญ่ 4.

มารยาทในการกราบไหว้ – สื่อการสอน.com

๒ การกราบผู้ใหญ่ กราบผู้ใหญ่ที่มีอาวุโสรวมทั้งผู้มีพระคุณ ได้แก่ ปู่ ย่า ตา ยาย พ่อ แม่ ครู อาจารย์ และผู้ที่เราเคารพ ผู้กราบทั้งชายและหญิงนั่งพับเพียบทอดมือทั้งสองข้างลงพร้อมกันให้แขนทั้งสองคร่อมเข่าที่อยู่ด้านล่างเพียงเข่าเดียว มือประนมตั้งกับพื้นไม่แบมือ ค้อมตัวลงให้หน้าผากแตะส่วนบนของมือที่ประนม ในขณะกราบไม่กระดกนิ้วมือขึ้นรับหน้าผาก กราบเพียงครั้งเดียว จากนั้นให้เปลี่ยนอิริยาบถโดยการนั่งสำรวมประสานมือ จากนั้นเดินเข่าถอยหลังพอประมาณแล้วลุกขึ้นจากไป ๔. ๓ การคำนับ เป็นการแสดงเคารพแบบสากล ในกรณีที่ไม่ไหว้หรือกราบ ให้ยืนตัวตรง ส้นเท้าชิดกัน ปลายเท้าห่างกันเล็กน้อย มือปล่อยไว้ข้างลำตัว ปลายนิ้วกลางแตะตะเข็บกางเกงหรือกระโปรงด้านข้าง ค้อมช่วงไหล่และศีรษะลงเล็กน้อย แล้วเงยหน้าขึ้นในท่าตรง การคำนับนี้ ส่วนมากเป็นการปฏิบัติของชาย แต่หญิงให้ใช้ปฏิบัติได้เมื่อแต่งเครื่องแบบและไม่ได้สวมหมวก ๔. ๔ การแสดงความเคารพพระมหากษัตริย์ ๔. ๔.

​ ​ จัดทำโดย 1. นายพงศธร เทพมงคล เลขที่2 2. นางสาวจรูญวรรณ สุธรรมวงศ์ เลขที่14 3. นางสาวพรนภา วุฒิสินธ์ เลขที่21 4. นางสาววริศรา ทาจิตร์ เลขที่22 5นางสาวหนูปรางค์ จันทะไข่สร เลขที่26 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/11 ​ เสนอ คุณครู ประธาน วสวานนท์ โรงเรียนลือคำหาญวารินชำราบ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 ​ มารยาทไทย

เรื่องที่ ๑ มารยาทไทย มารยาทไทย เป็นเอกลักษณ์ที่แสดงถึงความเป็นไทยได้อย่างชัดเจน เพราะเป็นพฤติกรรมที่คนไทยปฏิบัติต่อกันด้วยความเคารพ อ่อนน้อม สุภาพ เรียบร้อย และถูกต้องตามกาลเทศะไม่ว่าจะเป็นการแสดงความเคารพ การสนทนา การแต่งกาย รวมถึงการปฏิบัติอื่นๆ ซึ่งผู้ที่ปฏิบัติตามมารยาทไทยได้อย่างถูกต้องย่อมแสดงถึงการมีสมบัติผู้ดี และย่อมได้รับการยอมรับจากสังคมทั่วไป เพราะเป็นผู้รู้จักปฏิบัติและวางตัวได้เหมาะ-สม ๑. มารยาทในการแสดงความเคารพ การแสดงความเคารพ เป้นการแสดงออกถึการให้เกียรตอและความอ่อนน้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสังคมไทยที่ให้ความสำคัญต่อการเคารพ การแสดงความเคารพตามารยาทไทยมีหลายลักษณะ เช่น การไหว้ การกราบ การคำนับ ทั้งนี้ขึ้นอยู๋กับ โอกาส สถานที่ และระดับอาวุโสของผู้ที่เราแสดงความเคารพ ดังนั้น เราจะต้องปฏิบัติได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ๑.

ลำดับความสำคัญมารยาทไทย งามกริยาท่าทาง ด้วยการแสดงความเคารพ!!

๒ การเคารพอนุสาวรีย์บุคคลสำคัญ อนุสาวรีย์บุคคลสำคัญอาจเป็นรูปปั้น ภาพถ่าย ภาพวาดหรือสัญลักษณ์อื่นก็ได้ ให้แสดงความเคารพด้วยการคำนับหรือกราบ หรือไหว้แล้วแต่กรณีในโอกาสพิเศษหรือเป็นพิธีการ เช่น เมื่อครบรอบวันเกิด หรือ วันสำคัญที่เกี่ยวข้องอันเป็นพิธีการให้ใช้พุ่มดอกไม้ ถ้าครบรอบวันตายหรือแสดงความระลึกถึงอันเป็นพิธีการให้วางพวงมาลาในโอกาสอื่น ๆ ที่ไม่เป็นพิธีการอาจแสดงความเคารพโดยใช้ หรือไม่ใช้เครื่องสักการะก็ได้ ๔.

เมื่อนั่งเก้าอี้อยู่ ถ้าผู้สูงศักดิ์หรือผู้ที่เราเคารพอย่างสูงมายืนหรือนั่งพูดอยู่ ใกล้ ๆ เราจะนั่งอย่างเคารพในลักษณะทอดศอกลงบนเข่าของเรา มือประสานกัน พูดโต้ตอบกับท่านก็ได้ ดีกว่านั่ง เก้าอี้ตรงเฉยเสีย ห้อยเท้าให้ชิดกันและเก็บเท้าให้ชิดกันให้มากที่สุด 5.

มารยาทไทย การกราบ

๒ การปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการแสดงความเคารพ เมื่อเราแสดงความเคารพตามมารยาทไทยได้ถูกต้องแล้ว เราก็ควรปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีเพื่อให้คนทั่วไปในสังคมเห็นความสำคัญ และสามารถแสดงความเคารพต่อกันได้อย่างเหมาะสม การเป็นแบบอย่างที่ดีในการแสดงความเคารพ ทำได้ ดังนี้ ๑. แสดงความเคารพผู้อื่นทุกครั้งเมื่อพบเจอกัน ๒. แสดงความเคารพโดยปฏิบัติได้ถูกต้องตามแบบแผนมารยาทไทย ๓. แสดงความเคารพให้เหมาะสมกับโอกาส สถานที่ และกาลเทศะ ๔. แสดงความเคารพด้วยวิธีต่างๆ อยู่เสมอจนเป็นนิสัย ๑. ๓ การมีส่วนและแนะนำผู้อื่นให้อนุกรักษ์การแสดงความเคารพ แนวทางที่จะช่วยอนุรักษ์การแสดงความเคารพตามมารยาทไทย ทำได้ ดังนี้ ๑. บอกเล่าถึงความสำคัญของการแสดงความเคารพตามมารยาทไทยให้คนทั่วไปรับทราบ และนำไปปฏิบัติอย่างถูกต้อง ๒. บอกเล่าถึงความภาคภูมิใจในการแสดงความเคารพให้คนรอบข้างรับฟัง ๓. แนะนำวิธีการแสดงความเคารพที่ถูกต้อง ๔. เผยแพร่ความรู้ในการแสดงความเคารพตามมารยาทไทยผ่าสื่อต่างๆ ๕. เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่ส่งเสริมการอนุรักษ์มารยาทไทยในการแสดงความเคารพรวมถึงชักชวนบุคคลรอบข้างให้เข้าร่วมกิจกรมมด้วย ๒. มารยาทในการสนทนา การสนทนา เป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน เพราะเราต้องการติดต่อสื่อสารกับคนรอบข้างเพื่อถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดต่างๆ การสนทนาที่ดีนั้น จะต้องคำนึงถึงมารยาทในการสนทนาเป้นสำคัญ เพราะจะช่วยในการสนทนาดำเนินไปอย่างราบรื่น ช่วยสร้างความรู้สึกอันดีต่อกัน และเป้นการแสดงถึงการให้เกียรติคู่สนทนา ๒.

  1. รีวิวเลเซอร์หน้าใส รีวิวผิวขาว จบปัญหาหน้าหมองคล้ำ จุดด่างดำ
  2. เห็ด น่อง ไก่
  3. ลำดับความสำคัญมารยาทไทย งามกริยาท่าทาง ด้วยการแสดงความเคารพ!!
  4. รวม 15 ลิปสติกสีส้มนม นู้ดๆ ทาแล้วดูน่ารักน่าหยิก
  5. หน้า มี ร่อง แก้ม
มารยาทไทย การกราบ

๑ มารยาทในการแต่งกายที่ถูกต้อง การแต่งกายไปยังสถานที่ต่างๆ จะต้องคำนึงถึงความเหมาะสมกับโอกาส บุคคลที่ต้องพบเจอกิจกรรมที่ทำ ถือเป็นมารยาททางสังคมอย่างหนึ่ง การแต่งกายที่ถูกต้องสามารถทำได้ดังนี้ ๑. แต่งกายด้วยเสื้อผ้าที่สะอาด เราควรดูแลเสื้อผ้าของเราให้สะอาดมีสภาพดีอยุ่เสมอ หากพบร่องรอยชำรุดก็ควนซ็อมแซมให้กลับสู่สภาพเดิม ทั้งนี้ เสื้อผ้าที่สวมใส่ไม่จำเป็นต้องมีราคาแพง แต่ควรเป็นชุดที่ดูดี เรียบร้อย ๒. แต่งกายให้เหมาะสมกับโอกาส เราต้องพิจารณาว่างานที่เราไปเข้าร่วมนั้นมีลักษณะอย่างไร เช่น เมื่อเราต้องไปในงานแต่งงานซึ่งถือเป็นงานมงคล เราก็ควรแต่งกายด้วยชุดสุภาพ ไม่ใส่ชุดสีเข้ม เพื่อเป็นการใหเ้เกียรติและแสดงความยินดีต่อเจ้าของงาน หรือถ้าหากไปร่วมงานศพ ก็ไม่ควรแต่งการด้วยชุดสีฉูดฉาด ควรแต่งการด้วยชุดไว้ทุกข์ สีดำ หรือสีขาว ๓. แต่งกายให้เหมาะสมกับสถานที่ ก่อนการแต่งกายทุกครั้ง เราควรคำนึงถึงสถานที่ที่จะไป เช่น หากไปทำทำบุญที่วัด ก็ควรแต่งกายด้วยชุดสุภาพเรียบร้อย มิดชิด เพื่อความเหมาะสมและแสดงความเคารพต่อศาสนสถาน ๔. แต่งกายให้เหมาะสมกับวัยของตนเอง การแต่งกายที่ดี จะต้องมีความเหมาะสมกับวัยของตนเอง เช่น วัยเด็กควรสวมเสื้อผ้าที่มีสีสันสดใส วัยรุ่นก้สามารถแต่งตัวตามสมัยนิยมได้แต่ไม่ล่อแหลมมากเกินไป ส่วนวับทำงานก็ควรแต่งกายด้วยชุดที่ดูดี สุภาพ เรียบร้อย มีความภูมิฐาน ๓.

1. ข้อใดหมายถึงการไหว้ ก. อัญชลี ข. วันทา ค. อภิวาท ง. คำนับ 2. การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ ต้องมีอวัยวะส่วนใดติดพื้นบ้าง ก. หน้าผาก มือ เข่า ข. จมูก มือ เข่า ค. จมูก ปาก มือ ง. มือ แก้ม หน้าผาก 3. ข้อใดคือความสำคัญของมารยาทไทย ก. มีคนยกย่องชื่นชม ข. ได้ชื่อว่าเป็นคนไทยที่แท้จริง ค. แสดงให้เห็นถึงลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย ง. เป็นการสืบทอดวงศ์ตระกูล 4. การเดินผ่านผู้ใหญ่ที่นั่งอยู่บนเก้าอี้ควรปฏิบัติตามข้อใด ก. ตัวตรงเดินผ่านปกติ ข. เดินทางในลักษณะสำรวจค่อมตัวลงเล็กน้อย ค. รอจนผู้ใหญ่ไปแล้วค่อมเดินผ่านบริเวณนั้น ง. เดินตัวตรงปกติ แต่ผ่าน 5. การแสดงกิริยาทั้งกาย วาจา ที่สุภาพเหมาะสมกับสถานที่และบุคคล หมายถึงข้อใด ก. วัฒนธรรม ข. มารยาทไทย ค. ประเพณี ง. กฎหมาย 6. มารยาทในการแสดงความเคารพมีหลายอย่างยกเว้นข้อใด ก. การประนมมือไหว้ ข. การหอมแก้ม ค. การกราบ ง. การคำนับ 7. การกราบ 1 ครั้ง แบบแบมือเป็นการกราบบุคคลใด ก. พระสงฆ์ ข. ศพ ค. ผู้ใหญ่ ง. พระพุทธรูป 8. การไหว้พระควรให้นิ้วหัวแม่มือจรดบริเวณใด ก. จมูก ข. ปาก ค. ระหว่างคิ้ว ง. หน้าอก 9. มารยาทในการแสดงความเคารพด้วยการประนมมือตรงกับข้อใด ก.

Friday, 13-May-22 18:18:22 UTC